รับผลิตน้ำปลาร้าใส่ขวด น้ำปลาร้าปรุงสุก หอมกลิ่นปลาร้าแท้ สะอาด ปลอดภัย
08 มกราคม 2563
ผู้ชม 329 ผู้ชม
ปลาร้า หรือ ปลาแดก (ปาแดก) ปลาน้อย ในภาษาอีสาน เป็นอาหารท้องถิ่นที่สำคัญภาคอีสาน
โรงงานผลิตน้ำปลาร้าขวด ปลาร้าที่ใส่ขวดปรุงสำเร็จ รับสร้างแบรนด์ปลาร้า ให้คนดัง เน็ตไอดอล ดารานักร้อง ร้านอาหาร บริษัทต่างๆ
รับผลิตน้ำปลาร้าตามสูตรลูกค้า ปรับปรุงสูตรตามความต้องการของลูกค้า ปลาร้า มี อย. โรงงานมีมาตรฐาน GMP
สนใจตัวอย่างทดลองชิมทักไลน์
ปลาร้า หรือ ปลาแดก (ปาแดก) ปลาน้อย ในภาษาอีสาน เป็นอาหารท้องถิ่นที่สำคัญในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในภาคอีสานของไทย
และประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชนลาว รวมถึงบางส่วนของเวียดนามและพม่า โดยแต่ละท้องถิ่นจะมีการทำปลาร้าเป็นเอกลักษณ์ของตน ปัจจุบัน
ปลาร้าได้พัฒนาขึ้นไปสู่ระดับสากลมากขึ้น มีปลาร้าพาสเจอร์ไรซ์เพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อนด้วย หรือปลาร้าอนามัย แต่ส่วนใหญ่ ปลาร้าก็ยังนิยมทำแบบเดิม
โดยตักขายตามน้ำหนักตามตลาดสดต่างๆ ในวรรณกรรมลาวโบราณบางเรื่องเรียกปลาร้าว่า ปลาแดกฮ้า หรือปลาแดกร้า
ในลาวและอีสานมีวรรณกรรมที่กล่าวถึงเรื่องราวเกี่ยวกับปลาร้าโดยตรงคือวรรณกรรมเรื่อง ปลาแดกปลาสมอ หรือลำบุษบา หรือท้าวกำพร้า
คนไทยทางภาคเหนือนิยมเรียกปลาร้าว่า ฮ้า ดังนั้นคำว่าปลาร้าจึงเป็นภาษาลาวที่ชาวไทยภาคกลางและภาคเหนือรับอิทธิพลทางภาษามาจากชนชาติลาว
ปลาร้า หรือปลาแดก เป็นอาหารหลัก และเครื่องปรุงรสที่สำคัญที่สุดในวัฒนธรรมของภาคอีสาน จนถือเป็นหนึ่งในวิญญาณห้าของความเป็นอีสาน ได้แก่
ข้าวเหนียว ลาบ ส้มตำ หมอลำ และปลาร้า ชีวิตชาวอีสานก่อนปี พ.ศ. 2500 ครอบครัวชาวนาทุกครอบครัวจะทำปลาร้ากินเอง โดยหมักปลาร้าไว้มากหรือน้อยบ้าง ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝนและความอุดมสมบูรณ์ของปลา
ลักษณะของปลาร้าอีสานคือมักทำจากปลาน้ำจืดขนาดเล็ก เช่น ปลาสร้อยขาว ปลากระดี่มาหมักกับรำข้าวและเกลือ แล้วบรรจุใส่ไห จะหมักไว้ประมาณ 7-8 เดือน
แล้วนำมารับประทานได้ ในบางท้องที่มีค่านิยมว่า หมักให้เกิดหนอนจะยิ่งเพิ่มรสชาติยิ่งขึ้น ปลาร้าเป็นการถนอมปลาโดยการหมักไว้เป็นอาหารนอกฤดูกาล
โดยมีข้อมูลเชิงสถิติระบุไว้ว่า กำลังการผลิตปลาร้าทั่วประเทศ 20,000-40,000 ตัน/ปี ครัวเรือนอีสานผลิตปลาร้าเฉลี่ย 27.09 กิโลกรัม/ปี
อัตราการบริโภคปลาร้าโดยเฉลี่ยประมาณ 15-40 กรัม/คน/วัน ปริมาณการซื้อขายปลาร้าทั่วประเทศคิดเป็นมูลค่าประมาณ 9 ล้านบาทต่อวัน[1]
ปลาร้านำไปปรุงอาหารได้หลายชนิด ตั้งแต่ น้ำพริก หลน จนถึงนำไปทอด นึ่ง เผา แล้วแต่ขนาดของปลาร้า
นำปลาร้าไปต้มกับน้ำแล้วกรองเอาแต่น้ำเป็นน้ำปลาร้าเป็นเครื่องปรุงรสที่สำคัญของอาหารอีสาน
อาหารที่ปรุงด้วยปลาร้าที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปคือส้มตำโดยส้มตำที่ใส่ปลาร้านั้นจะเรียกว่า ส้มตำลาว หรือ ส้มตำปลาร้า เพื่อให้ต่างจากส้มตำใส่กุ้งแห้งที่เรียกส้มตำไทย [2] ปลาร้าที่นิยมใส่ในส้มตำมี 3 แบบคือ[3]
ปลาร้าต่วงหรือปลาแดกน้อย ทำจากปลาตัวเล็ก หมักกับเกลือ รสเค็มกลมกล่อม
ปลาร้าโหน่ง รสจืดกว่าปลาร้าต่วง โดยหมักปลากับเกลือและรำข้าว รำข้าวจะช่วยเร่งให้ปลาร้าเป็นเร็ว สีออกแดงและหอม
ปลาร้าขี้ปลาทู ทำจากไส้ปลาทู มีกลิ่นหอมที่เป็นเอกลักษณ์ นิยมนำมาทำเป็นน้ำปลาร้าไว้ปรุงรสส้มตำ
คุณภาพของปลาร้า
สิ่งที่บ่งชี้คุณภาพของปลาร้า คือ คุณค่าด้านสารอาหาร รส กลิ่น สี นักโภชนาการยอมรับกันว่า เมื่อเปรียบเทียบปลาร้ากับอาหารหมักดองประเภทอื่น เช่น ปลาจ่อม
ปลาส้มฟัก กะปิ ปลาร้าให้คุณค่าด้านสารอาหารค่อนข้างสูง คือ ให้โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ โดยเฉพาะปลาร้าที่ทำมาจากปลาช่อน
ส่วนรสชาติ กลิ่น สีของปลาร้านั้นขึ้นอยู่กับปลาร้าที่ได้สัดส่วนระหว่างปลา เกลือและอุณหภูมิ หากปลาร้าไม่เน่า เพราะเกลือได้สัดส่วน
และเป็นเกลือสินเธาว์ตัวปลาจะแข็ง มีสีแดง ส่วนกลิ่นที่หอมและรสที่ไม่เค็มเกินไปขึ้นอยู่กับการใช้ข้าวคั่วและรำใหม่ ที่มีคุณภาพดี
ชาวอีสานจะเรียกปลาร้าตามคุณภาพของรสและกลิ่น เช่น ปลาแดกหอม ปลาแดกนัวหรือปลาแดกต่วง และปลาแดกโหน่ง
ปลาแดกหอม เป็นปลาร้าที่มีกลิ่นหอมสีแดงน่ารับประทาน ทำจากปลาตัวโตเช่น ปลาช่อนและปลาดุก ส่วนประกอบในการหมักใช้เกลือมากกว่าสูตรทั่วไป คือ ปลาสี่ส่วน
เกลือสองส่วนและข้าวคั่วหรือรำหนึ่งส่วน
ปลาแดกนัวหรือปลาแดกต่วง เป็นปลาร้าที่หมักให้มีกลิ่นนุ่มนวล ปลาที่ใช้ทำจะเลือกปลาขนาดกลางและขนาดเล็ก ส่วนผสมประกอบด้วย ปลาสี่ส่วน เกลือหนึ่งส่วนครึ่ง และรำหนึ่งส่วน
ปลาแดกโหน่ง เป็นปลาร้าที่มีกลิ่นอันร้ายกาจ ส่งกลิ่นฟุ้งได้ไกล รสชาติแปลกประหลาด สีออกดำคล้ำ นิยมใช้ปรุงส้มตำ ปลาร้าชนิดนี้จะทำมาจากปลาขนาดเล็ก เช่น ปลาซิว
ปลาสร้อย ปลาขาวนา ส่วนผสมที่ใช้ ปลาสี่ส่วน เกลือหนึ่งส่วน รำหนึ่งส่วน
ปลาร้าที่หมักนานกว่าสามเดือนขึ้นไปจะให้รสชาติที่ดี ถ้าปลาช่อนตัวใหญ่อาจต้องใช้เวลาถึงหนึ่งปี ไม่ต้องพะวงกับเชื้อโรคในปลาร้า เพราะนักโภชนาการเชื่อว่า
เกลือในปริมาณที่พอเหมาะมากพอจะทำให้ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่ ทำให้อาหารบูดเน่าได้ ดังนั้นถ้าปลาร้าที่ทำจากปลาที่ล้างสะอาด สด
ใช้เกลือสินเธาว์และภาชนะบรรจุที่เหมาะสมจะทำให้ได้ปลาร้าที่มีคุณภาพดี จากการศึกษาวิจัยยังพบอีกว่า ปลาร้าที่หมักนานกว่าสามเดือนขึ้นไป พยาธิใบไม้ตับ
จะตายหมดไม่สามารถติดต่อมายังคนได้ไม่ว่าจะรับประทานปลาร้าดิบหรือสุกก็ตาม
แจ่วปลาร้านครพนม
แจ่วปลาร้าบึงกาฬ
แจ่วปลาร้าสกลนคร
แจ่วปลาร้ามุกดาหาร
แจ่วปลาร้าอุบลราชธานี
แจ่วปลาร้าหนองคาย
แจ่วปลาร้าอำนาจเจริญ
แจ่วปลาร้าหนองบัวลำภู
แจ่วปลาร้าศรีสะเกษ
แจ่วปลาร้าอุดรธานี
แจ่วปลาร้ายโสธร
แจ่วปลาร้าเลย
แจ่วปลาร้ากาฬสินธุ์
แจ่วปลาร้าร้อยเอ็ด
แจ่วปลาร้ามหาสารคาม
แจ่วปลาร้าสุรินทร์
แจ่วปลาร้าขอนแก่น
แจ่วปลาร้าอำนาจเจริญ
แจ่วปลาร้าบุรีรัมย์
แจ่วปลาร้าชัยภูมิ
แจ่วปลาร้าโคราชนครราชสีมา
แจ่วปลาร้าเชียงใหม่
แจ่วปลาร้าเพชรบูรณ์
แจ่วปลาร้า-เชียงราย
แจ่วปลาร้าแม่ฮ่องสอน
แจ่วปลาร้าพะเยา
แจ่วปลาร้าลำพูน
แจ่วปลาร้าน่าน
แจ่วปลาร้าลำปาง
แจ่วปลาร้าพิษณุโลก
แจ่วปลาร้าแพร่
แจ่วปลาร้าอุตรดิตถ์
แจ่วปลาร้าตาก
แจ่วปลาร้ากำแพงเพชร
แจ่วปลาร้าพิจิตร
แจ่วปลาร้านครสวรรค์
แจ่วปลาร้าอุทัยธานี
แจ่วปลาร้าชัยนาท
แจ่วปลาร้าลพบุรี
แจ่วปลาร้าสิงห์บุรี
แจ่วปลาร้าสุโขทัย
แจ่วปลาร้าปราจีนบุรี
แจ่วปลาร้าสระบุรี
แจ่วปลาร้านครนายก
แจ่วปลาร้านครปฐม
แจ่วปลาร้าอ่างทอง
แจ่วปลาร้าราชบุรี
แจ่วปลาร้าสุพรรณบุรี
แจ่วปลาร้าอยุธยา
แจ่วปลาร้าสมุทรสงคราม
แจ่วปลาร้าสมุทรปราการ
แจ่วปลาร้าสมุทรสาคร
แจ่วปลาร้าสระแก้ว
แจ่วปลาร้าตราด
แจ่วปลาร้าจันทบุรี
แจ่วปลาร้าระยอง
แจ่วปลาร้าชลบุรี
แจ่วปลาร้าฉะเชิงเทรา
แจ่วปลาร้าเพชรบุรี
แจ่วปลาร้าชุมพร
แจ่วปลาร้าระนอง
แจ่วปลาร้าสุราษฎร์ธานี
แจ่วปลาร้านครศรีธรรมราช
แจ่วปลาร้าพังงา
แจ่วปลาร้ากระบี่
แจ่วปลาร้าตรัง
แจ่วปลาร้าพัทลุง
แจ่วปลาร้าภูเก็ต
แจ่วปลาร้าสงขลา
แจ่วปลาร้าคลองตัน
แจ่วปลาร้าจรัญสนิทวงศ์
แจ่วปลาร้าดาวคะนอง
แจ่วปลาร้าดินแดง
แจ่วปลาร้าธนบุรี
แจ่วปลาร้านวนคร
แจ่วปลาร้านวลจันทร์
แจ่วปลาร้าบางนา
แจ่วปลาร้าปทุมวัน
แจ่วปลาร้าประชาชื่น
แจ่วปลาร้าประตูน้ำ
แจ่วปลาร้าปิ่นเกล้า
แจ่วปลาร้าพระราม 2
แจ่วปลาร้าพระราม 9
แจ่วปลาร้าเพชรเกษม
แจ่วปลาร้ารัชดาภิเษก
แจ่วปลาร้ารัชโยธิน
แจ่วปลาร้ารามคำแหง
แจ่วปลาร้าวังหิน
แจ่วปลาร้าวัชพล
แจ่วปลาร้าสะพานควาย
แจ่วปลาร้าสาธุประดิษฐ์
แจ่วปลาร้าสามเสน
แจ่วปลาร้าสีลม
แจ่วปลาร้าสุขาภิบาล
แจ่วปลาร้าสุขุมวิท
แจ่วปลาร้าสุทธิสาร
แจ่วปลาร้าอนุเสาวรีย์ชัย
แจ่วปลาร้าอ่อนนุช
แจ่วปลาร้าปากเกร็ด
แจ่วปลาร้าบางใหญ่
แจ่วปลาร้าคลองหลวง
แจ่วปลาร้าธัญบุรี
แจ่วปลาร้าลาดหลุมแก้ว
แจ่วปลาร้าลำลูกกา
แจ่วปลาร้าสามโคก
แจ่วปลาร้าหนองเสือ
แจ่วปลาร้ากระทุ่มแบน
แจ่วปลาร้าบางพลี
แจ่วปลาร้าบางบ่อ
แจ่วปลาร้าพระประแดง
แจ่วปลาร้าพุทธมณฑล
แจ่วปลาร้าสามพราน
แจ่วปลาร้าเมืองหัวหิน
แจ่วปลาร้าบางรัก
แจ่วปลาร้าสาธร
แจ่วปลาร้าเซนส์หลุยส์
แจ่วปลาร้าสาธุประดิษฐ์
แจ่วปลาร้าบางแค
แจ่วปลาร้าภาษีเจริญ
แจ่วปลาร้าปิ่นเกล้า
แจ่วปลาร้าจรัญ
แจ่วปลาร้าบรมราชชนนี
แจ่วปลาร้าบางพลัด
แจ่วปลาร้าบางอ้อ
แจ่วปลาร้าบางกอกน้อย
แจ่วปลาร้าบางกอกใหญ่
แจ่วปลาร้าคลองสาน
แจ่วปลาร้าอิสรภาพ
แจ่วปลาร้าสาธร
แจ่วปลาร้าสวนผัก
แจ่วปลาร้าทุ่งมังกร
แจ่วปลาร้าราชพฤกษ์
แจ่วปลาร้าชัยพฤกษ์
แจ่วปลาร้ากัลปพฤกษ์
กาญจนาภิเษก
แจ่วปลาร้าพุทธมลฑล
แจ่วปลาร้าพระราม 2
แจ่วปลาร้าท่าพระ
แจ่วปลาร้ารัชดาภิเษก
แจ่วปลาร้าพระราม 3
ซ.วัดลาดปลาดุก
แจ่วปลาร้าแม้นศรี
แจ่วปลาร้าราษฎร์บูรณะ
แจ่วปลาร้าดาวคะนอง
แจ่วปลาร้าตลาดพลู
แจ่วปลาร้าพญาไท
แจ่วปลาร้าเจริญ
แจ่วปลาร้าปทุมวัน
แจ่วปลาร้ามาบุญครอง
แจ่วปลาร้าสยาม
แจ่วปลาร้าศรีย่าน
แจ่วปลาร้าเทเวศน์
ทวีวัฒนา
แจ่วปลาร้าบางนา
แจ่วปลาร้าสี่แยกทศกันต์
แจ่วปลาร้าตลิ่งชัน
แจ่วปลาร้าสุขุมวิท
แจ่วปลาร้าประตูน้ำ
แจ่วปลาร้าวุฒากาศ
แจ่วปลาร้าจอมทอง
แจ่วปลาร้าท่าเกษตร
แจ่วปลาร้าบางแวก
แจ่วปลาร้าบางหว้า
แจ่วปลาร้าวงเวียนใหญ่
แจ่วปลาร้าลาดหญ้า
แจ่วปลาร้าสำราญราษฎร์
แจ่วปลาร้าเสาชิงช้า
แจ่วปลาร้าสาธุประดิษฐ์
แจ่วปลาร้าซ.วัดลาดปลาดุก
แจ่วปลาร้าซ.วัดศรีประวัติ
แจ่วปลาร้าสมเด็จเจ้าพระยา
แจ่วปลาร้าเจริญนคร
แจ่วปลาร้าเพชรเกษม
แจ่วปลาร้าบางรัก
แจ่วปลาร้ายานนาวา
แจ่วปลาร้าเอกชัย
แจ่วปลาร้ากำนันแม้น
แจ่วปลาร้าเทเวศน์
แจ่วปลาร้าเทอดไท
แจ่วปลาร้าบางขุนเทียน
แจ่วปลาร้าท่าข้าม
แจ่วปลาร้าบางบอน
แจ่วปลาร้าสุขสวัสดิ์
แจ่วปลาร้าทุ่งครุ
แจ่วปลาร้าประชาอุทิศ
แจ่วปลาร้าลาพร้าว
แจ่วปลาร้าอนุสาวรีย์ชัย
แจ่วปลาร้าซ.อารีย์สัมพันธุ์
แจ่วปลาร้าอ้อมน้อย
แจ่วปลาร้าอ้อมใหญ่
แจ่วปลาร้ามหาชัย
แจ่วปลาร้าคลองขวาง
แจ่วปลาร้าบางมด
แจ่วปลาร้าหนองเเขม