ติดตั้งเสาไฟฟ้า ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า ซ่อมหม้อเปลงไฟฟ้า เดินสายไฟฟ้า รับเดินสาย Fiber Optic รื้อถอนงานระบบไฟฟ้า ครบวงจร น่าเชื่อถือ
หม้อแปลงไฟฟ้าลาดกระบัง
มิเตอร์ไฟฟ้าลาดกระบัง
ซ่อมหม้อเปลงไฟฟ้าลาดกระบัง
หม้อแปลงไฟฟ้าแรงสูงลาดกระบัง
เดินนสายไฟฟ้าแรงสูงลาดกระบัง
รื้อถอนงานระบบไฟฟ้าลาดกระบัง
เดินสายไฟฟ้าลาดกระบัง
ช่างไฟลาดกระบัง
รับเหมาออกแบบ ติดตั้ง รื้อถอน ระบบไฟฟ้าโรงงานอุตสาหกรรม อาคาร บ้านเรือน สำนักงาน รวมทั้งจำหน่ายอุปกรณ์ระบบไฟฟ้าครบวงจร ปรึกษาปัญหาระบบไฟฟ้าฟรี
รับเหมาไฟฟ้าบ้านราคาลาดกระบัง
รายชื่อบริษัทรับเหมางานระบบไฟฟ้าลาดกระบัง
รับเหมาเดินสายไฟราคาลาดกระบัง
งานเดินสายไฟในบ้านลาดกระบัง
ช่างเดินสายไฟลาดกระบัง
ช่างเดินสายไฟใกล้ฉันลาดกระบัง
บริการติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าแรงสูง รับปักเสา พาดสาย ออกแบบ
รับเหมา บริการติดตั้ง ขาย ให้เช่า หม้อแปลงไฟฟ้าแรงสูง ออกแบบ วางระบบ ปักเสาไฟฟ้า
ลาดกระบัง ราคาปักเสาไฟฟ้า 8 เมตร
รับปักเสาไฟฟ้าลาดกระบัง
อยากทราบราคาติดตั้งเสาไฟฟ้าลาดกระบัง
ผู้รับเหมาระบบไฟฟ้าแรงสูงลาดกระบัง
รับติดตั้งหัวเคเบิ้ลแรงสูงลาดกระบัง
ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า3เฟสหอพักลาดกระบัง
รับเหมาระบบไฟฟ้าโรงแรมลาดกระบัง
รับเหมาระบบไฟฟ้ารีสอร์ทลาดกระบัง
ชนิดของหม้อแปลง
หม้อแปลงตามปกติเรียกชื่อตามวัสดุที่ใช้เป็นแบบฉนวน และ ระบายความร้อน หม้อแปลงจำหน่ายที่ใช้อยู่ใน ปัจจุบัน มี 2 แบบ คือ
-หม้อแปลงแบบใช้ของเหลว ( Liquid-immersed Transformers )
-หม้อแปลงแห้ง ( Dry-Type Transformers )
หม้อแปลงแบบใช้ของเหลว ( Liquid-immersed Transformers) ของเหลวที่นิยมใช้เป็นฉนวน และ ตัวระบายความร้อน คือ น้ำมันหม้อแปลง ( Mineral Oil ) และของเหลวที่ติดไฟยาก ( Less Flammable Liquid )แปลงน้ำมัน ( Oil-type Transformers เป็นหม้อแปลงที่ใช้น้ำมันหม้อแปลงเป็นฉนวนและความร้อนด้วย หม้อแปลงน้ำมันนิยมใช้กันมากกับงานภายนอกอาคาร เนื่องจากมีราคาถูก แต่ถ้านำมาใช้ภายในอาคารจะต้องมีการสร้างห้องพิเศษซึ่งสามารถป้องกันไฟได้ เนื่องจากน้ำมันสามารถติดไฟได้ โดยมีจุดติดไฟ ( Fire Point ) ที่ 165 ㆍC
หม้อปลงแบบใช้ของเหลวติดไฟยาก( Less-Flammable Liquid-insulated Transformers)
เป็นหม้อแปลงชนิดที่ใช้ของเหลวที่ติดไฟยากเป็นฉนวนและระบายความร้อน โดยทั่วไปนิยมใช้สารซิลิโคน ( Silcone ) ซึ่งมีจุดติดไฟที่ 343*C ไม่เป็นพิษ และไม่เป็นอันตรายต่อคนและสิ่งแวดล้อม หม้อแปลงแบบใช้ของเหลวติดไฟ
การปักเสาไฟฟ้า
วิธีการปักเสา แบ่งออกได้เป็น 2 วิธีคือ
1.ใช้เเรงงานคน
2.ใช้รถปักเสา
การใช้รถปักเสา
วิธีนี้สะดวกรวดเร็ว ใช้เฉพาะรถยนต์เข้าถึงได้
การขุดหลุมปักเสาไฟฟ้า
การขุดหลุมเสา การดำเนินการขุดหลุมปักเสาไฟฟ้า จะต้องมีการสำรวจ พื้นที่และสภาพแวดล้อม เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดแบบการก่อสร้าง ให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่จริง โดยจะต้องอนุรักษ์ธรรมชาติให้มากที่สุด ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานควรมีความรู้ในการตัดแต่งต้นไม้ไม่ทำให้ต้นไม้โทรมตาย ภายหลังการตัด รวมถึงการปักเสาต้องไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งปลูกสร้าง ข้างเคียง วิธีการขุดหลุมปักเสาไฟฟ้า สามารถแบ่งตามวิธีการปฏิบัติได้ 2 ลักษณะ คือ
-ใช้แรงงานคน การขุดด้วยวิธีธรรมดาโดยใช้ จอบ เสียม ชะแลง พลั่วหนีบ เป็นต้น หรือขุดโดยใช้สว่านมือหมุนให้คมของสว่านปักลงไปใน ดินเพื่อขุดเอาดินออก
-ใช้รถขุดหลุม และสว่านขนาดใหญ่ วิธีนี้สามารถขุด หลุมได้อย่างรวดเร็ว แต่มีข้อจำกัดในเรื่องบริเวณที่จะขุด รถต้องสามารถ เข้าถึงได้
พื้นดินบริเวณปักเสามีความต้านทานสูง เช่น ดิน เหนียว หรือบริเวณภูเขา หินแข็ง บริเวณปักเสาสามารถรับนํ้าหนักเสา อุปกรณ์ และแรงดึงของสายได้ เมื่อปักเสาได้ระดับความลึกที่กำหนด การ เทคอนกรีตที่โคนเสาต้องทิ้งไว้อย่างน้อย 7 วัน จึงจะปลดไม้คํ้ายันออกได้
ขั้นตอนการขอขยายเขต ระบบจำหน่ายแรงสูง ติดตั้ง หม้อแปลงไฟฟ้า
การขอติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า มีขั้นตอนดังนี้
1. ยื่นคำร้องขอขยายเขตยื่นเอกสารและหลักฐานที่จำเป็นต่อการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และเตรีมเงินค่าสำรวจออกแบบหรือค่าตรวจแบบ จำนวน 5,350 บาท
2. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จะออกสำรวจ ประมาณการค่าใช้จ่ายในการขยายเขตฯให้ทราบ และให้มาชำระค่าใช้จ่าย มีกำหนดยืนราคา 3 เดือน
3. ผู้ใช้ไฟ ชำระเงินค่าขยายเขต
4. การไฟฟ้าฯ จะดำเนินการก่อสร้างขยายเขตฯให้กับผู้ขอใช้ไฟ ทางผู้ใช้ไฟดำเนินการติดตั้งหม้อแปลง
5. เมื่อการไฟฟ้าฯ ดำเนินการก่อสร้างขยายเขตเสร็จ ผู้ขอใช้ไฟยื่นเอกสารเพื่อทำเรื่องขอติดตั้งมิเตอร์ไฟฟ้า
(กรณี ผู้ใช้ไฟขอเช่าหม้อแปลงกับการไฟฟ้าฯ จะ ดำเนินการถึงขั้นตอนที่ 5 ทำสัญญาเช่าหม้อแปลง สัญญาขอติดตั้งมิเตอร์ และสัญญาซื้อขายไฟ)
6. เมื่อผู้ขอใช้ไฟยื่นเอกสารขอติดตั้งมิเตอร์แล้วทางการไฟฟ้าฯ จะดำเนินการตรวจสอบมาตรฐานการเดินสายไฟฟ้า (ระบบแรงต่ำภายใน) ให้กับผู้ขอใช้ไฟ เพื่อพิจารณาว่าผ่านตามมาตรฐานที่ การไฟฟ้าฯกำหนดหรือไม่
กรณี ไม่ผ่านมาตรฐาน ทางการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจะแจ้งให้ผู้ขอใช้ไฟดำเนินการแก้ไขใหม่
กรณี ผ่านมาตรฐาน ทางการไฟฟ้าฯ จะแจ้งให้ผู้ขอใช้ไฟเตรียมเอกสารมาอย่างละ ๒ ชุด เพื่อทำเรื่องขอติดตั้งมิเตอร์และทำสัญญาซื้อขายไฟ
7. หลังจากที่ผู้ขอใช้ไฟชำระค่าใช้จ่ายเรียบร้อย ทางการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจะดำเนินการติดตั้งมิเตอร์ให้กับผู้ขอใช้ไฟ
ติดตั้งเสาไฟฟ้าเข้าบ้านลาดกระบัง
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนมอเตอร์เวย์
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนร่มเกล้า
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนกิ่งแก้ว
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนลาดกระบัง
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนเจ้าคุณทหาร
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนฉลองกรุง
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนหลวงแพ่ง
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนขุมทอง-ลำต้อยติ่ง (หลวงแพ่ง 5)
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนเคหะร่มเกล้าและซอยร่มเกล้า 24 (การเคหะร่มเกล้า)
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนพัฒนาชนบท 1
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนคุ้มเกล้า (คลองตาเสือ / ลำปลาทิว 3)
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนไอซีดี (สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง)
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนเลียบคลองมอญ
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนหลวงพรตพิทยพยัต
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนเชื่อมคลองมอญ
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนประชาพัฒนา
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนสารีบุตร
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนสารีบุตร-ทับยาว
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนทับยาว
ติดตั้งระบบไฟฟ้าซอยลาดกระบัง 54 (สุวรรณ 5)
ติดตั้งระบบไฟฟ้าซอยร่มเกล้า 25 (วัดบำรุงรื่น)
ติดตั้งระบบไฟฟ้าถนนประชาทร